วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 4 ไฟฟ้า
เรื่อง การผลิตกระแสไฟฟ้า จำนวน 1 คาบ / สัปดาห์ สอนครั้งที่ 1
วันที่ ..... พฤศจิกายน พ.ศ.2552 โรงเรียนบ้านหนองนกกะเรียน
ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวนนักเรียน..... คน
ผู้สอน นางสาวลดาวัลย์ รุ่งเรือง ค.บ.4 วิทยาศาสตร์
______________________________________________________________________________
มาตรฐานการเรียนรู้ ว.5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงานปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระสำคัญ
การผลิตกระแสไฟฟ้าในสภาวการณ์ปัจจุบันมีความสำคัญอย่างมาก สาเหตุเกิดจากปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่มีมากขึ้นเรื่อยๆจึงมีการคิดวิธีการต่างๆที่จะนำไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าให้เพียงพอกับความต้องการและมีต้นทุนต่ำ
จุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์ปลายทาง
นักเรียนจำแนกการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง
จุดประสงค์นำทาง
1.นักเรียนอธิบายประจุไฟฟ้าได้ถูกต้อง
2.นักเรียนอธิบายไฟฟ้าสถิตได้ถูกต้อง
3.นักเรียนอธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมีได้ถูกต้อง
4.นักเรียนอธิบายหลักการไดนาโมได้ถูกต้อง
5.นักเรียนระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าได้ถูกต้อง
สาระการเรียนรู้
การผลิตกระแสไฟฟ้า
1.ประจุไฟฟ้า
2.ไฟฟ้าสถิต
3.เซลล์ไฟฟ้าเคมี
4.ไดนาโม
5.แหล่งผลิตไฟฟ้า
กระบวนการเรียนรู้
1.ขั้นอธิบายประจุไฟฟ้า
1.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
1.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าประจุไฟฟ้าคืออะไร
1.3 อธิบายเนื้อหาประจุไฟฟ้าบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียนลงสมุดของนักเรียน
ทุกคน
1.4 ปฏิบัติภาระงาน โดยให้ทำทุกคน
1.5 สะท้อนความคิดของนักเรียนให้เข้าใจถึงเรื่องประจุไฟฟ้าและถามคำถาม
1.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนตอบคำถาม
1.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
2.ขั้นอธิบายไฟฟ้าสถิต
2.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
2.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าไฟฟ้าสถิตคืออะไร
2.3 อธิบายเนื้อหาเรื่องไฟฟ้าสถิตบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียน ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
2.4 ปฏิบัติภาระงาน โดยให้ทำทุกคน
2.5.สะท้อนความคิดของนักเรียนให้เข้าใจถึงเรื่องประจุไฟฟ้าและถามคำถาม
2.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนตอบคำถาม
2.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
3.ขั้นอธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมี
3.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
3.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าเซลล์ไฟฟ้าเคมีคืออะไร
3.3 อธิบายเนื้อหาเรื่องเซลล์ไฟฟ้าเคมีบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียน ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
3.4 ปฏิบัติภาระงาน โดยให้ทำทุกคน
3.5.สะท้อนความคิดของนักเรียนให้เข้าใจถึงเรื่องประจุไฟฟ้าและถามคำถาม
3.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนตอบคำถาม
3.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
4.ขั้นอธิบายหลักการไดนาโม
4.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
4.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าหลักการไดนาโมคืออะไร
4.3 อธิบายเนื้อหาเรื่องหลักการไดนาโมบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียน ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
4.4 ปฏิบัติภาระงาน โดยให้ทำทุกคน
4.5.สะท้อนความคิดของนักเรียนให้เข้าใจถึงเรื่องประจุไฟฟ้าและถามคำถาม
4.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนตอบคำถาม
4.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
5.ขั้นอธิบายแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า
5.1 จัดทำนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม ตามกติกาการนับ 1-4 โดยให้นักเรียนนับจากใบรายชื่อนักเรียนครบทุกคน
5.2 นำเสนอสื่อเนื้อหาบนกระดาน แล้วตั้งคำถามจำนวน 1 คำถาม
นักเรียนทราบไหมว่าแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าคืออะไร
5.3 อธิบายเนื้อหาเรื่องระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าบนกระดานและมอบหมายให้นักเรียนเขียน ลงสมุดของนักเรียนทุกคน
5.4 ปฏิบัติภาระงาน โดยให้ทำทุกคน
5.5.สะท้อนความคิดของนักเรียนให้เข้าใจถึงเรื่องประจุไฟฟ้าและถามคำถาม
5.6 นำเสนอผลงานโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนตอบคำถาม
5.7 ประเมินผลสรุปและเพิ่มเติมเนื้อหา
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.กิจกรรมอธิบายประจุไฟฟ้า
1.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
1.2.เนื้อหาเรื่อง อธิบายประจุไฟฟ้า, คำถามจำนวน 1 คำถาม
1.3.เนื้อหาเรื่อง อธิบายประจุไฟฟ้า
1.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
1.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
1.6.บัตรกำหนดเวลา
1.7.ประเมินผลสรุป
2.กิจกรรมอธิบายไฟฟ้าสถิต
2.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
2.2.เนื้อหาเรื่องไฟฟ้าสถิต, คำถามจำนวน 1 คำถาม
2.3.เนื้อหาเรื่อง ไฟฟ้าสถิต
2.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
2.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
2.6.บัตรกำหนดเวลา
2.7.ประเมินผลสรุป
3.กิจกรรมอธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมี
3.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
3.2.เนื้อหาเรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี, คำถามจำนวน 1 คำถาม
3.3.เนื้อหาเรื่อง เซลล์ไฟฟ้าเคมี
3.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
3.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
3.6.บัตรกำหนดเวลา
3.7.ประเมินผลสรุป
4.กิจกรรมอธิบายหลักการไดนาโม
4.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
4.2.เนื้อหาเรื่องไดนาโม, คำถามจำนวน 1 คำถาม
4.3.เนื้อหาเรื่อง ไดนาโม
4.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
4.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
4.6.บัตรกำหนดเวลา
4.7.ประเมินผลสรุป
5.กิจกรรมระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า
5.1.ใบรายชื่อนักเรียน ม.3
5.2.เนื้อหาเรื่อง ระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า, คำถามจำนวน 1 คำถาม
5.3.เนื้อหาเรื่อง ระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้า
5.4.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.3, สมุดจดบันทึก
5.5.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
5.6.บัตรกำหนดเวลา
5.7.ประเมินผลสรุป
การวัดและประเมินผล
การวัดผล
1.วัดผลการอธิบายประจุไฟฟ้าด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
2.วัดผลการอธิบายไฟฟ้าสถิตด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
3.วัดผลการอธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมีด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
4.วัดผลการอธิบายหลักการไดนาโม ด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
5.วัดผลการระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยการตรวจผลการสรุปตามสมุดจดบันทึก โดยยึดเกณฑ์ถูกต้อง
การประเมินผล
1.ประเมินผลการอธิบายประจุไฟฟ้าพบว่า นักเรียน ......คน อธิบายประจุไฟฟ้าไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องประจุไฟฟ้าเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
2.ประเมินผลการอธิบายไฟฟ้าสถิตพบว่า นักเรียน ...... คน อธิบายไฟฟ้าสถิตไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่อง ไฟฟ้าสถิตเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
3.ประเมินผลการอธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมีพบว่า นักเรียน ...... คน อธิบายเซลล์ไฟฟ้าเคมีไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องเซลล์ไฟฟ้าเคมีเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
4.ประเมินผลการอธิบายหลักการไดนาโม พบว่า นักเรียน ....... คน อธิบายหลักการไดนาโม ไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องหลักการไดนาโม เพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
5.ประเมินผลการระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าพบว่า นักเรียน ..... คน ระบุแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าไม่ได้ แก้ไขด้วยการให้ศึกษาเรื่องแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ ...................................................... ครูผู้สอน
(นางสาวลดาวัลย์ รุ่งเรือง)
......./............/.........